กาพย์ยานี จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ฉันทลักษณ์ไทย กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ร่าย ร้อยกรองแบบใหม่ กลวิธีประพันธ์ กลบท กลอักษร กาพย์ยานี เป็นคำประพันธ์ไทยประเภท กาพย์ ที่กวีนิยมแต่งมากที่สุด มีทั้งแต่งสลับกับคำประพันธ์ประเภทอื่นและแต่งเพียงลำพัง กาพย์ยานีบทหนึ่งมีสองบาท บาทละ 11 คำ คนทั่วไปจึงนิยมเรียกว่า กาพย์ยานี 11 เนื้อหา [ ซ่อน ] 1 ประวัติ 2 ฉันทลักษณ์ 3 พัฒนาการของกาพย์ยานี 4 อ้างอิง 5 แหล่งข้อมูลอื่น ประวัติ [ แก้ ] กาพย์ยานี มีหลักฐานควรเชื่อว่าได้ชื่อมาจากคาถา ภาษาบาลี ที่ยกเป็นตัวอย่าง ฉันท์ ใน จินดามณี [1] คือ อินทรวิเชียรฉันท์ ยกตัวอย่างว่า ๏ ยานีธภูตา นิสมาคตานิ ภุมมานิวายา นิวอันตลิกเข จึงทำให้ผู้รู้ส่วนใหญ่จัดว่ากาพย์เป็นคำประพันธ์เดียวกับ ฉันท์ เพียงแต่เราไม่บังคับ ครุและลหุ เป็นที่น่าสังเกตว่าไม่มีชื่อกาพย์ยานีในตำรากาพย์สารวิลาสินีและกาพย์คันถะอันได้ชื่อว่าเป็นต้นเค้าของกาพย์ทั้งมวลเลย [2] ฉันทลักษณ์ [ แก้ ] หนึ่งบทมีสองบาท บาทละ 11 พยางค์ แบ่งเป็น 2 วรรค วรรคแรก...
บทความ
กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2017
การแต่งกาพย์ยานี 11
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
คำประพันธ์ประเภท "กาพย์" กาพย์ เป็นคำประพันธ์ชนิดหนึ่งที่บังคับจำนวนคำและสัมผัส จัดวรรคต่างจาก กลอน และไม่บังคับเสียงวรรณยุกต์ท้ายวรรค ไม่มีบังคับเอก-โท เหมือน โคลง และไม่มีบังคับ ครุและลหุ เหมือน ฉันท์ กาพย์เป็นคำประพันธ์ที่ปรากฏมาตั้งแต่ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีทั้งที่แต่งเป็นหนังสืออ่านเล่น แต่งเป็น หนังสือสวด หรือเป็นนิทาน กระทั่งเป็นตำราสอนก็มี กาพย์มีด้วยกันหลายชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกัน ในที่นี้ขออธิบายรูปแบบ ฉันทลักษณ์ในการแต่งคำประพันธ์ประเภทกาพย์ ๓ ชนิดด้วยกัน ดังนี้ กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ...